BIOTEC

ทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์

ข้อมูลเกี่ยวกับทีมวิจัย

ภารกิจหลักของทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรียย์ (IMUT) คือรวบรวมและเก็บรักษาจุลินทรีย์พร้อมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บริการแก่นักวิจัยภายในและภายนอก จุลินทรีย์ที่เก็บรักษาได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ และราเส้นใย ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 80,000 สายพันธุ์ จุลินทรีย์เหล่านี้เป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การค้นหาเอนไซม์การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี และการค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เป็นต้น โดยผู้ที่สนใจทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถเข้าถึงจุลินทรีย์เหล่านี้เพื่อการศึกษาวิจัยและการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้โดยขอรับบริการผ่านศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย(Thailand Bioresource Research Center; TBRC) นอกจากนี้ภารกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของทีมวิจัยฯ ได้แก่ การศึกษาความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในด้านเกษตร อาหาร และอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นความเชี่ยวชาญของทีมวิจัยในการคัดแยกและจำแนกชนิดจุลินทรีย์ส่งผลให้จุลินทรีย์ที่เก็บรักษามีความหลากหลายทั้งด้านชนิดพันธุ์และนิเวศวิทยา โดยจุลินทรีย์เหล่านี้จะเก็บรักษาโดยวิธีแช่แข็งที่อุณหภูมิ -80 องศาเซลเซียส การแช่แข็งในไอไนโตรเจนเหลวและการระเหยแห้ง เพื่อการใช้ประโยชน์ในอนาคต

ทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์
ให้บริการเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจำแนกชนิดจุลินทรีย์โดยดำเนินการผ่านศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC) ดังนี้

1. การรับฝากจุลินทรีย์ (คลิกที่นี่)
บริการรับฝากแบคทีเรีย ยีสต์ และเชื้อราชนิดต่างๆ ที่อยู่ในระดับความเสี่ยง กลุ่มที่ 1 หรือ กลุ่ม 2 ที่ได้รับการศึกษาวิจัยในด้านต่างๆ ทั้งที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว หรือเตรียมตีพิมพ์ เช่น เป็นสปีชีส์ใหม่ สายพันธุ์อ้างอิง (Type strain) สายพันธุ์ที่รายงานเป็นครั้งแรกใประเทศไทย หรือมีคุณสมบัติพิเศษ ลักษณะเฉพาะ เช่น มีความสามารถในการผลิตกรด เอนไซม์ การย่อยสลายสารมลพิษ เป็นต้น

2. การให้บริการสายพันธุ์จุลินทรีย์ (คลิกที่นี่)
บริการสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่อการศึกษาและวิจัยแก่นักวิจัยในประเทศและต่างประเทศ

3. บริการคัดแยกและจำแนกชนิดจุลินทรีย์ (คลิกที่นี่)
บริการคัดแยกจุลินทรีย์จากตัวอย่างประเภทต่างๆ และจำแนกชนิดจุลินทรีย์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ลำดับดีเอ็นเอ

4. บริการเก็บรักษาจุลินทรีย์ (คลิกที่นี่)
บริการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีต่างๆ เช่น การแช่แข็ง การทำแห้งแบบระเหิดแห้ง ระเหยแห้งโดยเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญ โดยผู้ขอรับบริการสามารถนำหลอดจุลินทรีย์แบบแห้งไปเก็บรักษาเองได้

5. การฝึกอบรม (คลิกที่นี่)
บริการฝึกอบรมทั้งแบบเฉพาะบุคคลและแบบกลุ่มให้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเทคนิคการเก็บรักษาจุลินทรีย์ การจัดการคลังจุลินทรีย์ และการจำแนกชนิดจุลินทรีย์

ผลงานเด่น ทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์

1. การค้นพบจุลินทรีย์สกุลใหม่และชนิดใหม่ (ได้รับการตีพิมพ์แล้ว)

 แอคติโนมัยสีทชนิดใหม่ จำนวน 16 สปีชีส์

 แบคทีเรียสกุลใหม่ จำนวน 5 สกุล และแบคทีเรียชนิดใหม่ จำนวน 13 สปีชีส์
 ยีสต์สกุลใหม่ 3 สกุล และยีสต์ชนิดใหม่ มากกว่า 30 สปีชีส์

2. โครงการความร่วมมืองานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์กับสถาบันวิจัยและบริษัทเอกชนทั้งภายในและภายนอกประเทศ ได้แก่
 Novartis Pharma AG ประเทศ Switzerland
ด้านการค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ที่คัดแยกในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน
 Biological Resource Center, National Institute of Technology and Evaluation (NBRC)
ประเทศญี่ปุ่น ด้านการเก็บรักษาจุลินทรีย์ และงานวิจัยด้านอนุกรมวิธานของแบคทีเรีย และยีสต์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน
 Thailand – China Joint laboratory on microbial biotechnology
เพื่อร่วมวิจัยและแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านเทคโนโลยีชีวภาพระหว่างประเทศไทยและจีน ตั้งแต่ปี 2562-2564
 ร่วมวิจัยกับบริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศเพื่อค้นหาสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่เก็บรักษาที่ TBRCที่มีศักยภาพในด้านการวิจัยและการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่างๆ

3. ผลงานตีพิมพ์ (2558-ปัจจุบัน)
1. Suriyachadkun C, Ngaemthao W, Pujchakarn T, Chunhametha S. Cryptosporangium phraense sp. nov., isolated from plant litter. Int J Syst Evol Microbiol. 2020;70(2):971-6.

2. Naloka K, Yukphan P, Matsutani M, Matsushita K, Theeragool G. Komagataeibacter diospyrisp. nov., a novel species of thermotolerant bacterial nanocellulose-producing bacterium. Int J Syst Evol Microbiol. 2020;70(1):251-8.

3. Li AH, Yuan FX, Groenewald M, Bensch K, Yurkov AM, Li K, et al. Diversity and phylogeny of basidiomycetous yeasts from plant leaves and soil: Proposal of two new orders, three new families, eight new genera and one hundred and seven new species. Stud Mycol.
2020;96:17-140.

4. Kaewwichian R, Khunnamwong P, Am-In S, Jindamorakot S, Limtong S. Torulaspora nypae sp. nov., a novel yeast species isolated from nipa (Nypa fruticans Wurmb.) inflorescence sap in southern Thailand. Int J Syst Evol Microbiol. 2020;70(2):1112-6.

5. Sangkanu S, Suriyachadkun C, Phongpaichit S. Gordonia sediminis sp. nov., an actinomycete isolated from mangrove sediment. Int J Syst Evol Microbiol. 2019;69(6):1814-20.

6. Niemhom N, Chutrakul C, Suriyachadkun C, Tadtong S, Thawai C. Jiangella endophytica sp.nov., an endophytic actinomycete isolated from the rhizome of Kaempferia elegans. Int J Syst Evol Microbiol. 2019;69(2):454-9.

7. Khunnamwong P, Lertwattanasakul N, Jindamorakot S, Suwannarach N, Matsui K, Limtong S. Evaluation of antagonistic activity and mechanisms of endophytic yeasts against pathogenic fungi causing economic crop diseases. Folia Microbiol (Praha). 2019.

8. Kaewwichian R, Khunnamwong P, Am-In S, Jindamorakot S, Groenewald M, Limtong S. Candida xylosifermentans sp. nov., a d-xylose-fermenting yeast species isolated in Thailand. Int J Syst Evol Microbiol. 2019;69(9):2674-80.

9. Sakdapetsiri C, Ngaemthao W, Suriyachadkun C, Duangmal K, Kitpreechavanich V. Actinomycetospora endophytica sp. nov., isolated from wild orchid (Podochilus microphyllus Lindl.) in Thailand. Int J Syst Evol Microbiol. 2018;68(9):3017-21.

10. Khunnamwong P, Jindamorakot S, Limtong S. Endophytic yeast diversity in leaf tissue of rice, corn and sugarcane cultivated in Thailand assessed by a culture-dependent approach. Fungal Biol. 2018;122(8):785-99.

11. Kaewwichian R, Khunnamwong P, Jindamorakot S, Lertwattanasakul N, Limtong S. Cryptotrichosporon siamense sp. nov., a ballistoconidium-forming yeast species in Trichosporonales isolated in Thailand. Int J Syst Evol Microbiol. 2018;68(8):2473-7.

12. Jamjan W, Suriyachadkun C, Tanasupawat S, Sakai K, Tashiro Y, Okugawa Y, et al. Amycolatopsis silviterrae sp. nov., isolated from forest soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2018;68(5):1455-60.

13. Chanama S, Janphen S, Suriyachadkun C, Chanama M. Pseudonocardia mangrovi sp. nov., isolated from soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2018;68(9):2949-55.

14. Sangkanu S, Rukachaisirikul V, Suriyachadkun C, Phongpaichit S. Evaluation of antibacterial potential of mangrove sediment-derived actinomycetes. Microb Pathog. 2017;112:303-12.

15. Niemhom N, Chutrakul C, Suriyachadkun C, Thawai C. Nonomuraea stahlianthi sp. nov., an endophytic actinomycete isolated from the stem of Stahlianthus campanulatus. Int J Syst Evol Microbiol. 2017;67(8):2879-84.

16. Ngaemthao W, Pujchakarn T, Chunhametha S, Suriyachadkun C. Verrucosispora endophytica sp. nov., isolated from the root of wild orchid (Grosourdya appendiculata (Blume) Rchb.f.). Int J Syst Evol Microbiol. 2017;67(12):5114-9.

17. Maneewong N, Sakdapetsiri C, Suriyachadkun C, Shibata C, Tamura T, Tokuyama S, et al. Polycladomyces subterraneus sp. nov., isolated from soil in Thailand. Int J Syst Evol Microbiol. 2017;67(9):3323-8.

18. Khunnamwong P, Ribeiro JRA, Garcia KM, Hagler AN, Takashima M, Ohkuma M, et al. Occultifur plantarum f.a., sp. nov., a novel cystobasidiomycetous yeast species. Int J Syst Evol Microbiol. 2017;67(8):2628-33.

19. Suriyachadkun C, Ngaemthao W, Chunhametha S. Planomonospora corallina sp. nov., isolated from soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2016;66(8):3224-9.

20. Niemhom N, Chutrakul C, Suriyachadkun C, Thawai C. Phytohabitans kaempferiae sp. nov., an endophytic actinomycete isolated from the leaf of Kaempferia larsenii. Int J Syst Evol Microbiol. 2016;66(8):2917-22.

21. Niemhom N, Chutrakul C, Suriyachadkun C, Thawai C. Asanoa endophytica sp. nov., an endophytic actinomycete isolated from the rhizome of Boesenbergia rotunda. Int J Syst Evol Microbiol. 2016;66(3):1377-82.

22. Ngaemthao W, Chunhametha S, Suriyachadkun C. Actinoplanes subglobosus sp. nov., isolated from mixed deciduous forest soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2016;66(11):4850-5.

23. Boonlarppradab C, Suriyachadkun C, Supothina S, Laksanacharoen P. Amethysione and amethysamide, new metabolites from Streptosporangium amethystogenes BCC 27081. J Antibiot (Tokyo). 2016;69(6):459-63.

24. Surussawadee J, Jindamorakot S, Nakase T, Lee CF, Limtong S. Hannaella phyllophila sp. nov., a basidiomycetous yeast species associated with plants in Thailand and Taiwan. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(7):2135-40.

25. Suriyachadkun C, Ngaemthao W, Chunhametha S, Thawai C, Sanglier JJ. Sinosporangium fuscum sp. nov., isolated from soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(Pt 6):1764-9.

26. Suriyachadkun C, Ngaemthao W, Chunhametha S, Sanglier JJ. Actinoplanes luteus sp. nov., isolated from soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(11):4227-32.

27. Miyashita M, Yukphan P, Chaipitakchonlatarn W, Malimas T, Sugimoto M, Yoshino M, et al. Lactobacillus plajomi sp. nov. and Lactobacillus modestisalitolerans sp. nov., isolated from traditional fermented foods. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(8):2485-90.

28. Khunnamwong P, Surussawadee J, Jindamorakot S, Ribeiro JR, Hagler AN, Limtong S. Occultifur tropicalis f.a., sp. nov., a novel cystobasidiomycetous yeast species isolated from tropical regions. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(Pt 5):1578-82.

29. Khunnamwong P, Lertwattanasakul N, Jindamorakot S, Limtong S, Lachance MA. Description of Diutina gen. nov., Diutina siamensis, f.a. sp. nov., and reassignment of Candida catenulata, Candida mesorugosa, Candida neorugosa, Candida pseudorugosa, Candida ranongensis, Candida rugosa and Candida scorzettiae to the genus Diutina. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(12):4701-9.

30. Kaewwichian R, Jindamorakot S, Am-In S, Sipiczki M, Limtong S. Hannaella siamensis sp. nov. and Hannaella phetchabunensis sp. nov., two new anamorphic basidiomycetous yeast species isolated from plants. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(Pt 4):1297-303.

31. Jindamorakot S, Am-In S, Kaewwichian R, Limtong S. Yamadazyma insecticola f.a., sp. nov. and Yamadazyma epiphylla f.a., sp. nov., two novel yeast species. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(Pt 4):1290-6.

32. Charoenyingcharoen P, Matsutani M, Yakushi T, Theeragool G, Yukphan P, Matsushita K. A functionally critical single nucleotide polymorphism in the gene encoding the membrane-bound alcohol dehydrogenase found in ethanol oxidation-deficient Gluconobacter thailandicus. Gene. 2015;567(2):201-7.

33. Chanama M, Thongkrachang N, Suriyachadkun C, Chanama S. Kutzneria chonburiensis sp. nov., isolated from soil. Int J Syst Evol Microbiol. 2015;65(11):4169-74.

ทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์

001297

ศศิธร จินดามรกฎ

นักวิจัยอาวุโส (หัวหน้าทีมวิจัย)

003122

วีระ ศรีอินทร์สุทธิ์

ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส

003897

สมจิต อ่ำอินทร์

ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส

003306

วิภาพร แง่มท้าว

ผู้ช่วยวิจัย

000864

ณฐช์วรัช อุดมนิธิณัฐรดา

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

004734

ธนาวุฒิ รติอาภากุล

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

005105

วิภาวัลย์ อุ่นใจ

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

005106

กุสุมา ศรีสุข

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

005279

ธวัลมณฑ์ ปุจฉาการ

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ

800685

ปาราวตี ชนูนันท์

ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย

803077

วิลาสินี คนซื่อ

ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย

ข้อมูลการติดต่อ

ทีมวิจัยความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์
ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
โทรศัพท์: 02-564-6700