เรื่องเด่น

 

Probiotic minimum Thai

ข้อกำหนดขั้นต่ำ (minimum requirement) และหลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร

 

Probiotic Guidelines Eng

Guidelines  for the document preparation for safety evaluation of probiotics

new blink

 

Biosafety Guideline

แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ 

 

 

แนวทางการพิจารณาเทคโนโลยีการปรับแต่งจีโนม (Genome Editing)

GEd2
แนวทางการพิจารณาเทคโนโลยีการปรับแต่งจีโนม (Genome Editing) Downloadnew blink

Guideline for the document preparation for safety evaluation of probiotics

Probiotic Guidelines Eng
Guideline for the document preparation for safety evaluation of probiotics Download 

ข้อกำหนดขั้นต่ำ (minimum requirement) และหลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร

Probiotic minimum Thai
ข้อกำหนดขั้นต่ำ (minimum requirement) และหลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร Download
 

แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุม
เพื่อใช้ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม

GMM GL update
แนวทางปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุมเพื่อใช้ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม (Biosafety Guidelines for Contained Used of Genetically Modified Microorganisms at Pilot and Industrial Scales) จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้นักวิจัย ผู้ประกอบการ และผู้ตรวจประเมิน ที่ดำเนินการเกี่ยวกับจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม มีความเข้าใจถึงขั้นตอนการประเมินความปลอดภัย และสภาพควบคุมที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติงาน ให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงาน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม Download

แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่

Biosafety Guideline

 

 
แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Biosafety Guidelines for Work Related to Modern Biotechnology) จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการควบคุมดูแลการวิจัยที่เกี่ยวข้องให้กับผู้ที่ดำเนินงานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ได้ปฏิบัติตาม ให้เกิดความปลอดภัยต่อทั้งผู้ปฏิบัติงาน และต่อชุมชน Download 

คู่มือ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ สำหรับผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม

forindustry

 


ปัจจุบันมีการนำจุลินทรีย์และจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมมาใช้ในกระบวนการผลิต ในอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างแพร่หลาย ทั้งอุตสาหกรรมอาหาร เกษตร พลังงาน และเวชภัณฑ์  กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงมีความร่วมมือกับศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ จัดทำ “คู่มือหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฎิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ” เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการใช้จุลินทรีย์และจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมให้มีความปลอดภัย สอดคล้องกับมาตรฐานสากล อันจะเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพของประเทศไทยให้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้สามารถแข่งขันกับประเทศต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิผล Download

แนวทางปฏิบัติในการสร้างโรงเรือนทดลองสำหรับพืชดัดแปลงพันธุกรรม

greenhouse

 

แนวทางปฏิบัติในการสร้างโรงเรือนทดลองสำหรับพืชดัดแปลงพันธุกรรม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูล และแนวทางในการสร้างและพิจารณาโรงเรือนทดสอบในบริบทที่เหมาะสมกับประเทศไทย สำหรับผู้วิจัย และผู้ตรวจประเมินโครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมที่ต้องดำเนินการในโรงเรือนทดสอบ Download

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร
ของพืชดัดแปลงพันธุกรรม

 minimumrequirement2

 

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของพืชดัดแปลงพันธุกรรม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่มีความต้องการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของพืชพันธุกรรม ในการจัดเตรียมข้อมูลสำหรับยื่นขอรับการประเมิน เพื่อลดระยะเวลา และความซ้ำซ้อนของการขอข้อมูลเพิ่มเติม Download 

คู่มือการจัดทำรายงานการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของพืชดัดแปลงพันธุกรรม

report

 

 

คู่มือการจัดทำรายงานประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของพืชดัดแปลงพันธุกรรม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ประเมินในการจัดทำรายงานประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของพืชดัดแปลงพันธุกรรมให้มีความครบถ้วน เหมาะสม และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน Download

แนวทางปฏิบัติในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรมแบบรวมยีน
และผลิตภัณฑ์

stacked guideline

 

 
แนวทางปฎิบัติในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรมแบบรวมยีนและผลิตภัณฑ์ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรมแบบรวมยีน (stacked gene) ซึ่งพัฒนาขึ้นจากการผสมข้าม (conventional breeding) ระหว่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม พันธุ์พ่อ-แม่ ทั้งการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม และด้านอาหาร Download
 

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยของอาหาร
ที่ผลิตจากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม

GMM cover

 

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ผลิตจากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่มีความต้องการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ผลิตจากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในการจัดเตรียมข้อมูลสำหรับยื่นขอรับการประเมิน เพื่อลดระยะเวลา และความซ้ำซ้อนของการขอข้อมูลเพิ่มเติมDownload 

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหาร
ของสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม

 GManimalcover1

 

 

ข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่มีความต้องการยื่นขอรับการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารของสัตว์พันธุกรรม ในการจัดเตรียมข้อมูลสำหรับยื่นขอรับการประเมิน เพื่อลดระยะเวลา และความซ้ำซ้อนของการขอข้อมูลเพิ่มเติม Download